เป้าหมายการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ปีการศึกษา 2559 โรงเรียนลำปลายมาศพัฒนา
- เข้าใจเนื้อหาที่เป็นพื้นฐาน เพื่อเรียนรู้วิชาอื่น เช่น
วิทยาศาสตร์ ดาราศาสตร์ พันธุกรรมศาสตร์ อย่างเช่น ความน่าจะเป็นมาใช้ในการวิเคราะห์ศึกษาพันธุกรรมของเมล็ดถั่ว ในทางชีววิทยาใช้เลขยกกาลังในการกำหนดหน่วยความยาวของดีเอ็นเอ (DNA) อัตราส่วนและยกกาลังไปใช้ในการหาดัชนี มวลกายของคน เพื่อวิเคราะห์และศึกษาภาวการณ์สะสมไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย การแปรเปลี่ยนของอุณหภูมิ แผนที่ทางอากาศบอกช่วงเวลา
เศรษฐศาสตร์ อย่างเช่น วิธีการอ่านกราฟและฟังก์ชัน การหาดุลยภาพและการเปลี่ยนแปลงดุลยภาพของตลาด เรียนรู้วิธีการตัดสินใจที่เหมาะสมที่สุดของผู้บริโภคและผู้ผลิต
การงานอาชีพ ศิลปะ อย่างเช่น อัตราส่วนการปรุงอาหาร การประกอบอาชีพ การออกแบบ การใช้เทคโนโลยี การสื่อสาร การเขียนโปรแกรมฯ การประมาณขนาดรูปร่างในการวาดภาพ มองโครงสร้างโมเดลจำลองในการสร้างประติมากรรม การเปรียบเทียบขนาดรูปร่างทางเรขาคณิต(พื้นที่ / ปริมาตร)
สังคม ประวัติศาสตร์ อย่างเช่น การบอกเวลา ระยะทาง บอกค่าเงิน(การแปลงค่าเงิน / การซื้อขายแลกเปลี่ยน) การคำนวณปีจากอดีต-ปัจจุบัน(พ.ศ. / ค.ศ.) ลักษณะทางภูมิศาสตร์ การออกแบบภูมิปัญญา(ปัญญาประดิษฐ์) การคำนวณความกว้างของแม่น้ำ การสร้างที่อยู่อาศัย ฤดูกาล
สุขศึกษา พลศึกษา อย่างเช่น การคำนวณค่าดัชนีมวลร่างกาย(BMI) การบอกค่าพลังงานจากสารอาหาร การวัดขนาดร่างกาย (น้ำหนัก / ส่วนสูง) การนับการเต้นของหัวใจ
- พัฒนาทักษะทางคณิตศาสตร์ การแก้ปัญหา การมองเห็นรูปแบบ (Pattern) การสร้างภาพในสมอง การให้เหตุผล การสื่อสาร เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่นๆ และมีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาด้วยวิธีที่หลากหลาย
Mind mapping (สาระการเรียนรู้)
ปฏิทินและวิเคราะห์มาตรฐานการจัดกิจกรรมวิชาคณิตศาสตร์
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 Quarter 3 ปีการศึกษา 2559
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
1
|
โจทย์
แบบรูปและความสัมพันธ์
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าจำนวนต่อนี้เพิ่มขึ้นทีละเท่าไร?
- นักเรียนคิดว่าจำนวนต่อนี้ลดลงทีละเท่าไร?
- นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- แผ่นภาพชุดตัวเลข
|
- ครูพานักเรียนเล่นเกมกระตุ้นการคิด
จากโจทย์ปริศนาตัวเลข
1 , 3,
5, …, 9, 11
- ครูนำชุดแบบรูปที่เพิ่มขึ้นที่ละ 3
มาให้นักเรียนคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
เชื่อม: นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์ พร้อมนำเสนอ
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนคิดว่าจำนวนต่อนี้เพิ่มขึ้นทีละเท่าไร?”(พร้อมมีตัวเลือกให้)
- ครูนำชุดแบบรูปที่เพิ่มขึ้นที่ละ
25 มาให้นักเรียนคิด และครูใช้คำถามกระตุ้นคิด
“นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- ครูให้โจทย์ใหม่ท้าทายยิ่งขึ้น
ครูนำชุดแบบรูปที่ลดลงที่ละ
3 มาให้นักเรียนคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- นักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนวิธีคิดจากโจทย์
- ครูนำชุดแบบรูปที่ลดลงที่ละ
25 มาให้นักเรียนคิด
- ครูใช้คำถามกระตุ้นคิด “นักเรียนคิดว่าชุดตัวเลขที่ครูกำหนดให้
มีความสัมพันธ์กันในรูปแบบใด?”
- นักเรียนทำใบงานแบบรูปที่ลดลง
- นักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนร่วมทดลองทดลองยืนบนเสื่อ
เพื่อหาปริมาณความหนาแน่น
-
นักเรียนนำเสนอข้อมูลช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- สมุดเล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
- ใบงาน
/ โจทย์การคิด
|
ความรู้
มีความเข้าใจนักเรียนเข้าใจและเห็นความสัมพันธ์ของแบบรูปที่เพิ่มขึ้น
แบบรูปที่ลดลง นำมาปรับใช้ได้กับชีวิตประจำวันได้
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการจัดการข้อมูลการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
- รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ
ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
ค1.1 ป.4/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับและศูนย์
เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
ค1.1 ป.4/3บวก ลบ คูณ หาร
และบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/1
บอกจำนวนและความสัมพันธ์ใน แบบรูปของจำนวนที่เพิ่มขึ้นหรือลดลงทีละเท่ากัน
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
2 - 3
|
โจทย์
- มุม
- เส้นตรง, เส้นขนาน
- ส่วนประกอบของรูปร่าง
- แกนสมมาตร
Key Questions
- นักเรียนคิดว่ารูปร่างแต่ละรูปประกอบด้วยอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- เครื่องมือวัดครึ่งวงกลม
- รูปร่างต่างๆ
- แผ่นภาพชุดสัตว์
- ชุดไม้โพแทรกเตอร์
|
- ครูเล่านิทานเรื่อง“มุม”
- ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทาน
- นักเรียนวาดภาพสิ่งของต่างๆที่อยู่ในห้องเรียนและระบุว่าตรงส่วนใดของภาพที่เป็นมุม จำนวน 10 ภาพ
- ครูเล่าเรื่อง “สิงโตกับจระเข้” พร้อมนำภาพมาให้นักเรียนสังเกตการอ้าปากของสัตว์ จากรูปA ถึงรูปE
1)สัตว์ในรูปใด อ้าปากว้างที่สุด
2)สัตว์ในรูปใด อ้าปากแคบที่สุด
3)บอกชื่อสัตว์ลำดับขนาดมุมของปาก
- ครูให้นักเรียนนำไม้วัดเหลี่ยมนำมาวาดมุมของรูปสามเหลี่ยมลงในกระดาษแล้ว สังเกตรูปที่วาด
คำถาม
1)มุมใดเป็นมุมฉาก
2)มุมใดแหลมที่สุด
- นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นจาการสังเกตขนาดมุมจากรูปสามเหลี่ยม
- ครูช่วยขมวดความเข้าใจผู้เรียน ด้วยคำถาม/อธิบาย
2.ขยับแท่งกระดาษแข็ง
ดังที่แสดงในด้านขวามือ
ให้สร้างมุมที่มีขนาดแตกต่างกัน
ขนาดของมุมรูปe เท่ากับขนาดของ2มุมฉาก
มุมในรูปใดมีขนาดเท่ากับ1มุมฉาก 3 มุมฉาก และ4มุมฉาก
มุมที่มีขนาดเท่ากับ4มุมฉาก เรียกว่า "มุมหนึ่งรอบหรือ
มุมรอบจุดศูนย์กลางวงกลม"
และมุมที่มีขนาดเท่ากับ2มุมฉาก
เรียกว่า "มุมครึ่งรอบหรือมุมตรง"
หน่วยที่ใช้แสดงขนาดของมุมได้อย่างแม่นยำมากขึ้น คือ
3.โพรแทรกเตอร์ใช้เพื่อวัดขนาดของมุมได้อย่างถูกต้อง
1)รูป b
ในข้อ2 มีขนาดเท่าไร
2)มุม c,
e, f และg ในข้อ2 มีขนาดเท่าใด
4.วัดขนาดของมุม ต่อไปนี้
5.หาวิธีขนาดของมุมที่มากกว่า
180องศา
6.รูปด้านล่างแสดงเส้นตรง
2เส้นตัดกัน
1)มุมa เท่ากับ60องศา มุมb มีขนาดกี่องศา
2)เปรียบเทียบมุมa กับc
7.มาสร้างมุมขนาด50องศา กันเถอะ
8.สร้างมุมขนาด 50องศา, 125องศา, และ280องศา
9.สังเกตมุมของรูปสามเหลี่ยม
1)วัดขนาดของมุม6มุมของรูปสามเหลี่ยม
1คู่
2)นี่คือมุมบางมุมจากรูปสามเหลี่ยม2รูป
มุมเหล่านี้มีขนาดกี่องศา
- นักเรียนทำใบงาน
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- การสร้างมุมต่างๆ
- การวาดภาพสิ่งของต่างๆที่อยู่ในห้องเรียนและระบุว่าตรงส่วนใดของภาพที่เป็นมุม จำนวน 10 ภาพ
- การสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฟังนิทานและเขียนสรุปนิทาน
ชิ้นงาน
- สมุดเล่มเล็กบันทึกเรื่องที่ศึกษา
- ใบงาน
|
ความรู้
มีความเข้าใจ
และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ 3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผลนำและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการจัดการข้อมูลการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
- รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ ศูนย์ เศษส่วน
และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
ค1.1 ป.4/2 เปรียบเทียบและเรียงลำดับจำนวนนับและศูนย์ เศษส่วน
และทศนิยมหนึ่งตำแหน่งเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยง
ค1.1 ป.4/3บวก ลบ คูณ หาร และบวก ลบ คูณ หารระคนของจำนวนนับและศูนย์ พร้อมทั้งตระหนักถึงความสมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ค 3.1 ป.4/1 บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียน สัญลักษณ์
ค 3.1 ป.4/2 บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3 บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4
บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5
บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก จำนวนแกนสมมาตร
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่
6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย
และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
|
4 -5
|
โจทย์
- รูปร่าง
- รูปทรง
Key Questions
- นักเรียนคิดว่ารูปร่างแต่ละรูปประกอบด้วยอะไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
- Wall thinking
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- เครื่องมือวัดครึ่งวงกลม
- รูปร่างต่างๆ
- แผ่นภาพชุดสัตว์
- ชุดไม้โพแทรกเตอร์
- บล็อกไม้
- ใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ
|
- ครูให้โจทย์นักเรียนวาดเส้นตรงเส้นหนึ่งตั้งอยู่บนเส้นตรงอีกเส้นหนึ่ง
มุมประชิดรวมกัน เท่ากับสองมุมฉาก นั้นจะกลายเป็นรูปอะไร (สามเหลี่ยมมุมฉาก)
- ครูและนักเรียนสนทนาร่วมกันเกี่ยวกับรูปร่างเรขาคณิตที่มีโครงสร้างแน่นอนเป็น
2 มิติมีความกว้างและความยาว
และรูปร่างอิสระป็นรูปร่างที่ไม่มีโครงสร้างแน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามการเคลื่อนไหวของธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ไม่สามารถระบุชื่อเรียกได้ชัดเจน เช่น
รูปร่างของใบไม้ ก้อนเมฆ
ถุงเท้า เป็นต้น
- ครูให้นักเรียนดูรูปดินสอที่ครูติดบนกระดาน
และให้นักเรียนช่วยบอกว่ารูปดินสอนี้มีรูปร่างเรขาณิตอะไรบ้าง
- ครูให้นักเรียนดูดินสอ(ของจริง)
และให้นักเรียนช่วยบอกว่าดินสอที่อยู่ในมือคุณครูนี้เหมือนหรือแตกต่างจากภาพดินสอบนกระดานอย่างไร
(รูปทรง)
- นักเรียนสังเกตบล็อกไม้รูปทรงต่างๆ พร้อม
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างของรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
- ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนสร้างนิทาน 1 เรื่องจากรูปร่างเรขาคณิต
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนจะสร้างกล่องจากกระดาษ 1 แผ่นได้อย่างไร?”
- ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการสร้างกล่องรูปทรงต่างๆ
- นักเรียนออกแบบการสร้างกล่องและพีระมิด
-
นักเรียนทำใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- นักเรียนร่วมทดลองทดลองยืนบนเสื่อ เพื่อหาปริมาณความหนาแน่น
-
นักเรียนนำเสนอข้อมูลช่วยกันหาวิธีคิดที่แตกต่าง และสร้างสรรค์โจทย์ใหม่
- นักเรียนแสดงความคิดเห็น
- นักเรียนทำใบงาน
ชิ้นงาน
- สมุดเล่มเล็ก
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากกิจกรรม
- ใบงาน
/ โจทย์การคิด
|
ความรู้
มีความเข้าใจ และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ 3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผลนำและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
ทักษะ
- ทักษะการคิดวิเคราะห์
- ทักษะการให้เหตุผลและมีความคิดสร้างสรรค์
- ทักษะการจัดการข้อมูลการสื่อสาร การสื่อความหมาย และการนำเสนอ
- ทักษะการแก้ปัญหา
- ทักษะการเห็นแบบรูป
- ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
- รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ
ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ค 3.1 ป.4/1 บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียน สัญลักษณ์
ค 3.1 ป.4/2 บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3
บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก จำนวนแกนสมมาตร
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
6
|
โจทย์
- รูปทรงเรขาคณิต(ต่อ)
Key Questions
- นักเรียนจะมองภาพและสร้างรูปทรงสามมิติได้อย่างไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- เครื่องมือวัดครึ่งวงกลม
- ชุดไม้โพแทรกเตอร์
- ใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ
|
- ครูและนักเรียนร่วมแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการมองรูปเรขาคณิต
- การมองด้านหน้า (FRONT VIEW) เลื่อนด้านหน้าของวัตถุเข้าหาตัวผู้มอง
- การมองด้านข้าง (SIDE VIEW) จากวัตถุที่หันด้านหน้าเข้าหาตัว
หมุนวัตถุให้ด้านข้างทางขวาหันเข้าหาตัว เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติแสดงภาพด้านข้าง
- การมองด้านบน (TOP VIEW) จากวัตถุที่หันด้านหน้าเข้าหาตัว หมุนวัตถุให้ด้านบนหันเข้าหาตัว
เขียนรูปเรขาคณิตสองมิติแสดงภาพด้านบน
- นักเรียนทำใบงานการสร้างภาพเรขาคณิตสามมิติ
ตัวอย่างใบงาน
|
ภาระงาน
- นักเรียนทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ในเรื่องที่ผ่านมา
- การสนทนาและร่วมแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับสิ่งที่เรียนรู้
- การนำเสนอนิทานเรขาคณิต
- การระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับความแตกต่างของรูปร่างและรูปทรงต่างๆ
- การออกแบบสร้างกล่องและพีระมิด
- การทำใบงาน
ชิ้นงาน
- ใบงาน
|
ความรู้
มีความเข้าใจ และสามารถจำแนกชนิดของมุม เส้นตรงอีกทั้งสามารถวิเคราะห์รูปเรขาคณิตทั้ง 2 มิติ 3 มิติพร้อมอธิบายและให้เหตุผลนำและนำความรู้ไปปรับประยุกต์ใช้ได้
(ต่อ)
ทักษะ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการแก้ปัญหา
-ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
-ทักษะการมองเห็นแบบรูป(pattern)
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
- รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ
ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ค 3.1 ป.4/1 บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียน สัญลักษณ์
ค 3.1 ป.4/2 บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3
บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก จำนวนแกนสมมาตร
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
7-8
|
โจทย์ :
- การหาพื้นที่ 2 มิติ
(รูปสามเหลี่ยม,สี่เหลี่ยม)
Key Questions :
-รูปสามเหลี่ยมกับรูปสี่เหลี่ยมเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
มีความสัมพันธ์กันหรือไม่เพราะอะไร?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- รูปสี่เหลี่ยม
สามเหลี่ยมแบบต่างๆ
- ใบงานเพนโทมิโน
|
- ครูให้นักเรียนดูรูป หนึ่งตารางหน่วย สองตารางหน่วยสี่ตารางหน่วย
หกตารางหน่วยแล้วถามใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนว่าแต่ละลูกมีกี่ตารางหน่วย รู้ได้อย่างไร
ครูให้ดูรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านยาวด้านละ 4 เซนติเมตรแล้วใช้คำถามกระตุ้นการคิด“นักเรียนคิดว่ารูปนี้จะมีกี่ตารางหน่วย มีวิธีคิดอย่างไร?”
- ครูให้นักเรียนดูรูปสี่เหลี่ยมที่มีด้านหนึ่งยาว 3 เซนติเมตรอีกด้านหนึ่งยาว 6 เซนติเมตรใช้คำถามกระตุ้นการคิด “รูปนี้มีกี่ตารางหน่วย
มีวิธีคิดอย่างไร?”
- ครูกำหนดรูปสี่เหลี่ยมแบบอื่นๆอีกที่มีด้านกว้างและยาวทั้งเท่ากันและไม่เท่ากันเพื่อให้นักเรียนหาว่าจะมีพื้นที่กี่ตารางหน่วย และใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนหาข้อสรุปร่วมกันว่าจะมีวิธีการหาพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมมุมฉากใดใดได้อย่างไร?”
- ครูวาดรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
ที่มีด้านฐานยาว 3เซนติเมตรด้านสูง 4 เซนติเมตร และใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่ารูปสามเหลี่ยมนี้จะมีพื้นที่เท่าไหร่ มีวิธีคิดอย่างไรบ้าง?”
- ครูให้ดูรูปสามเหลี่ยมมุมฉากแบบต่างๆและใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่ารูปสามเหลี่ยมนี้จะมีพื้นที่เท่าไหร่ มีวิธีคิดอย่างไรบ้าง?”
- ครูนำตารางหน่วยมาให้นักเรียนเรียงกัน 3 หน่วย จากนั้นครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “เห็นอะไร มีทั้งหมดกี่หน่วย
สามารถจัดรูปแบบได้แบบใดบ้าง”
ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาแลกเปลี่ยนระดมความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางรูปแบบตารางหน่วย
(เพิ่มเป็น 4 – 5 หน่วย)
- นักเรียนทำใบงานเพนโทมิโน โดยการสร้างรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสห้ารูปโดยใช้ด้านต่อกัน 12 แบบ
- นักเรียนสังเกตกระดาษรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมขนาดต่างๆ พร้อมครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าสามเหลี่ยมกับสี่เหลี่ยมมีความสัมพันธ์กันหรือไม่อย่างไร”
- นักเรียนทำใบงานความสัมพันธ์ของสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
|
ภาระงาน
- การแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากโจทย์ที่กำหนดให้
- การตอบคำถาม
- การทำใบงาน
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- ใบงานเพนโทมิโน
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจ
และสามารถหาพื้นที่ ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยมได้
อีกทั้งเห็นความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมและสี่เหลี่ยม
ทักษะ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการแก้ปัญหา
-ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
-ทักษะการมองเห็นแบบรูป(pattern)
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
- รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ
ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ค 3.1 ป.4/1 บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียน สัญลักษณ์
ค 3.1 ป.4/2 บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3
บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก จำนวนแกนสมมาตร
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
9
|
โจทย์ :
เรขาคณิตประยุกต์
Key Questions :
นักเรียนจะสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปปรับใช้กับชีวิตประจำวันได้อย่างไรบ้าง?
เครื่องมือคิด
- Brainstorms
- Blackboards share
- Show and Share
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
นักเรียน/ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศในชั้นเรียน
- กล่องลัง
|
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“บ้านหนึ่งหลังประกอบด้วยอะไรบ้าง”
- นักเรียนออกแบบบ้านคนละ 1 หลัง พร้อมเขียนรายละเอียด
- นักเรียนสร้างบ้านจำลองจากกล่องลัง
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะรู้ได้อย่างไรว่าฐานของบ้านมีพื้นที่กี่ตารางหน่วย , มีวิธีการคิดอย่างไร, ถ้าเราจำเป็นต้องปูกระเบื้องที่มีขนาดความกว้าง 3x3 ซม. จะมีวิธีการคิดอย่างไร”
- นักเรียนคำนวณจำนวนกระเบื้องปูพื้นของตนเอง
|
ภาระงาน
- การแลกเปลี่ยนแสดงความคิดเห็นจากโจทย์ที่กำหนดให้
- การตอบคำถาม
- นักเรียนสร้างแบบจำลองหมู่บ้าน
ชิ้นงาน
- สมุดบันทึกเล่มเล็ก
- สร้างบ้านจำลองจากกล่องลัง
- คำนวณจำนวนกระเบื้องปูพื้นของตนเอง
- ออกแบบบ้างคนละ 1 หลัง พร้อมเขียนรายละเอียด
|
ความรู้
นักเรียนมีความเข้าใจเกิดมโนภาพเกี่ยวกับมิติ รูปร่าง
ตำแหน่ง ระยะทาง ทิศทาง
เกิดความรู้สึกเชิงเรขาคณิตสามารถหาพื้นที่โดยการใช้การดำเนินการบวก ลบ
คูณและหารได้
ทักษะ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการแก้ปัญหา
-ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
-ทักษะการมองเห็นแบบรูป(pattern)
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น
คุณลักษณะ
- มีความคิดสร้างสรรค์และนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้ด้วยวิธีการที่น่าสนใจ
- รู้เคารพ มีวินัยและความรับผิดชอบ
- มีความมุ่งมั่นในการทำงาน
- การเคารพและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ
ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ค 3.1 ป.4/1 บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียน สัญลักษณ์
ค 3.1 ป.4/2 บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3
บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก จำนวนแกนสมมาตร
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|
Week
|
Input
|
Process
|
Output
|
Outcome
|
10 26 - 30 ธันวาคม 2559 |
โจทย์
ถอดบทเรียนคณิตศาสตร์ Q.3 และนำเสนอ
Key Question
- นักเรียนจะนำเสนอบทเรียนคณิตศาสตร์ Q.3 ได้อย่างไร ?
- นักเรียนคาดหวังว่าจะได้เรียนรู้อะไร?
- อะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดของเนื้อหาที่ได้เรียนรู้
(แก่นความเข้าใจ) - มีกระบวนการทำอย่างไร และทำไมต้องทำแบบนี้
(How to วิธีการ
สำเร็จหรือล้มเหลว)
- เราจะนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างไร
(คุณค่า)
เครื่องมือคิด
Brainstorms :
Show and Share
Mind Mapping : สื่อและแหล่งเรียนรู้
- บรรยากาศภายในชั้นเรียน
- ห้องสมุด
- อินเทอร์เน็ต
|
-
นักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมการเรียนรู้ทั้งหมดที่ผ่านมา
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
- นักเรียนคาดหวังว่าจะได้เรียนรู้อะไร?
- อะไรคือสิ่งสำคัญที่สุดของเนื้อหาที่ได้เรียนรู้
- มีกระบวนการทำอย่างไร และทำไมต้องทำแบบนี้
- เราจะนำมาปรับใช้ในชีวิตได้อย่างไร
- นักเรียนแต่ละคนคิดวางแผนงานถอดบทเรียน
- นักเรียนเขียนงานถอดบทเรียนคณิตศาสตร์ Q.3 ในรูปแบบต่างที่ตนสนใจ
( Mind Mapping Flow Chart ฯลฯ)
-นักเรียนแต่ละคนนำเสนอสิ่งที่ได้เรียนรู้เพื่อให้ผู้อื่นเข้าใจได้
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “จากการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ใน Q.3 นักเรียนสามารถทำอะไรได้ดีแล้วบ้าง
และอะไรที่นักเรียนต้องพัฒนาเพิ่มเติมอีกบ้าง?”
- นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและเขียนประเมินตนเองเกี่ยวกับสิ่งที่ตนเองสามารถทำอะไรได้ดีแล้ว
และอะไรที่ต้องพัฒนาเกี่ยวกับการเรียนรู้
|
ภาระงาน
- การเขียนงานถอดบทเรียนคณิตศาสตร์ Q.3 ในรูปแบบต่างๆที่ตนสนใจ
( Mind Mapping Flow Chart ฯลฯ)
- การเขียนสิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
- การตอบคำถาม
ชิ้นงาน
- งานเขียนถอดบทเรียนคณิตศาสตร์ Q.3 ในรูปแบบต่างๆที่ตนสนใจ
( Mind Mapping Flow Chart ฯลฯ)
- งานเขียนสิ่งที่ดีแล้ว-สิ่งที่ควรพัฒนา
|
ความรู้
เข้าใจและสามารถระบุสิ่งสำคัญที่สุดของเนื้อหาที่ได้เรียนรู้ ในรูปแบบต่างๆตามความสนใจและสื่อให้ผู้อื่นเข้าใจ รวมทั้งนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด ชี้ ให้เห็นคุณค่า แสดงให้เห็น ความเชื่อมโยงสู่ชีวิตจริงได้
ทักษะ
-ทักษะการคิด
-ทักษะการแก้ปัญหา
-ทักษะการสื่อสาร / การให้เหตุผล
-ทักษะการมองเห็นแบบรูป(pattern)
-ทักษะการเรียนรู้ร่วมกับผู้อื่น คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- มีความรับผิดชอบ
กระตือรือร้นในการทำงาน
- คิดสร้างสรรค์ชิ้นงาน
- สังเคราะห์ข้อมูลจากสิ่งแวดล้อมรอบตัวที่ตนเองรับรู้ได้
- ยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
|
สาระที่ 1 จำนวนและการดำเนินการ
ค1.1 ป.4/1 เขียนและอ่านตัวเลขฮินดูอารบิกตัวเลขไทย และตัวหนังสือแสดงจำนวนนับ
ศูนย์ เศษส่วน และทศนิยมหนึ่งตำแหน่ง
สาระที่ 3 เรขาคณิต
ค 3.1 ป.4/1 บอกชนิดของมุม ชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม และเขียน สัญลักษณ์
ค 3.1 ป.4/2 บอกได้ว่าเส้นตรงหรือส่วนของ เส้นตรงคู่ใดขนานกัน พร้อมทั้งใช้ สัญลักษณ์แสดงการขนาน
ค 3.1 ป.4/3
บอกส่วนประกอบของรูปวงกลม
ค 3.1 ป.4/4 บอกได้ว่ารูปใดหรือส่วนใดของสิ่งของมีลักษณะเป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก
และจำแนกได้ว่าเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสหรือรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า
ค 3.1 ป.4/5 บอกได้ว่ารูปเรขาคณิตสองมิติรูปใด เป็นรูปที่มีแกนสมมาตร และบอก จำนวนแกนสมมาตร
สาระที่ 4 พีชคณิต
ค4.1 ป.4/2บอกรูปและความสัมพันธ์ในแบบรูปของรูปที่กำหนดให้
สาระที่ 5 การวิเคราะห์ข้อมูลและ
ความน่าจะเป็น
ค5.1 ป.4/1รวบรวมและจำแนกข้อมูล
สาระที่ 6 ทักษะกระบวนการคิด
ค6.1 ป.4/1 ใช้วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
ค6.1 ป.4/3ให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ
และสรุปผลได้อย่างเหมาะสม
ค6.1 ป.4/4ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร
การสื่อความหมาย และการนำเสนอได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ค6.1 ป.4/5 เชื่อมโยงความรู้ต่าง
ๆ ในคณิตศาสตร์และเชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ
|